แมลงศัตรูสำำคัญของดาวเรือง
เพลี้ยไฟ
เพลี้ยไฟจะเข้าทำำลายและดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดอ่อน
ทำำให้ใบหงิกงอแล้วห่อขึ้นไม่ แตกใบใหม่ จะเห็นมีรอยขีดตามใบหรือกลีบเลี้ยงของดอก
จะพบเห็นมากในตอนกลางวัน ตัวเรียวเล็ก สีน้ำตาล ส่วนมากพบใต้ใบ
ใช้สารเคมีพ่นกำำจัดเพลี้ยไฟทุกๆ 5-7 วัน หากระบาดมากทุกๆ 2-3 วัน โดยมากในช่วงหลังฝนตก ที่มีความชื้นสูง และอากาศร้อนอบอ้าว
ควรฉีดพ่นในช่วงสาย และช่วงบ่าย หลีกเลี่ยงการฉีดพ่นยาในช่วงที่มีอากาศร้อนจัด
เพราะตัวยาบางชนิดจะทำำให้ใบไหม้ได้ (มีระบาดในช่วงหลังเด็ดยอด)
หนอนชอนใบ
ทำำลายใบอ่อนตัวหนอนที่ฟักจากไข่ไชชอนเป็นทางยาวหรือ
สร้างอุโมงค์กัดกินและขับถ่ายอยู่ภายในใบที่ถูกทำำลายจะแสดงลักษณะแคระแกรน
บิดเบี้ยว
มีสารเคมีหลายชนิดที่ใช้สำำหรับป้องกันกำำจัดหนอนชอนใบ แต่ช่วงเวลาพ่นสารเคมีสำหรับกำำจัดหนอนชอนใบจะต้องกระทำำในช่วง
6 โมงถึง 9 โมงเช้าเท่านั้น
หากเกษตรกรพ่นในช่วงเวลาอื่นๆ สารเคมีจะไม่มีผลในการทำำลาย
(ระบาดในช่วงที่ย้ายปลูกใหม่ๆ ก่อนเด็ดยอด)
หนอนกัดใบ และหนอนผีเสื้อ
หนอนจะกัดกินดอกจนกลีบดอกร่วงเสียหาย เข้าทำำลายในขณะทีดอกเริ่มบาน
หนอนเหล่านี้เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน
ดังนั้นนิสัยการออกหากินจะเป็นช่วงเวลากลางคืน
การใช้สารเคมีชนิดถูกตัวตายจะมีประสิทธิภาพสูงที่สุด ช่วงเวลาที่เหมาะสมมี 2 เวลาคือ
ใกล้ช่วงเช้าประมาณตี 2 หรือทุกๆเช้าช่วง 6 โมงถึง 7 โมง เช้า หรือ 1
ทุ่ม ถึง 3 ทุ่ม จะเหมาะสมกว่า หนอนกัดใบ
และหนอนผีเสื้อจะมีการขยายพื้นที่หา กินจากจุดศูนย์กลาง
และเคลื่อนย้ายไปตามที่อื่นๆ ที่มีอาหาร(ใบ ลำต้น ดอก) ดังนั้นเรา อาจพ่นเป็นจุด
หรือพ่นรอบๆพื้นที่เสียหาย และมีการตรวจสอบทุกระยะ หากการทำำลายแล้วยังมีอยู่ จำำเป็นต้องฉีดซ้ำอีกครั้งหนึ่ง (ระบาดในช่วงตุ่มดอก)
ไรแดง
ไรแดงพบมากในช่วงฤดูร้อน อากาศร้อนจัด พบมากในส่วนใต้ ใบ และจะ ลามไป
ทั้งแปลง ไรแดงมีรูปร่างคล้ายกับแมงมุม ขนาดเล็กมาก สีแดงชอบอยู่กันเป็นกลุ่ม
หากมีปริมาณมากจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุม คลุมทั้งต้น ใบพืชที่โดยทำลายจะแสดงอาการเป็นจุดด่างๆ
สีเหลือง แล้วทำำให้ใบหงิกงอห่อลงช่วงเวลาการพ่นสารเคมีในช่วง สายและช่วงบ่าย
จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด (มักระบาดในช่วงหลังเด็ดยอด)
ที่มา:http://www.dmc.tv/pages/scoop/.html
ที่มา:http://www.dmc.tv/pages/scoop/.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น